[10ต.ค.65] สถานการณ์อุทกภัย เขตสุขภาพที่ 10 – 16.00 น.
รายงานสถานการณ์เฝ้าระวังอุทกภัย ณ 10 ตุลาคม 2565 (16.00 น.) จากข้อมูลพบว่า
- เขื่อนและฝายต้นน้ำมูล, ชี 8 แห่ง พบว่า;
■2 แห่งเก็บกักน้ำมากที่ระดับสีแดง>100% คือ เขื่อนอุบลรัตน์, ลำตะคอง
■6 แห่งเก็บกักน้ำมากที่ระดับสีแดง>90% คือ เขื่อนสิริธร, จุฬาภรณ์, ลำพระเพลิง, ลำนางรอง, ลำปาว, ลำแซะ - ข้อมูลเฝ้าระวังระดับน้ำ 3 จังหวัด 25 สถานี;
■ ส่วนมากน้ำสูงระดับสีแดง ” วิกฤต” เกินค่าความจุลำน้ำ และล้นตลิ่ง 19 สถานี ;
– จ.อุบลราชธานี (10/12) , สถานี M.7 คงที่
– จ.ศรีสะเกษ (7/8)
– จ.ยโสธร (2/5) - ฝนฟ้าคะนองร้อยละ 30 ของพื้นที่
- พื้นที่และประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ;
★ จำนวน 47 อำเภอ, 281 ตำบล, 1,918 หมู่บ้าน ประชาชน 43,7469 คน, 138 ศูนย์พักพิง - รายงาน Event Based Surveillance โรคและภัยสุขภาพที่มากับน้ำท่วม ;
★ ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ 1,345 , โรคระบบทางเดินอาหาร 80, เลปโตสไปโรซิส 1, น้ำกัดเท้า 4,908 , ผื่นคัน 233, ตาแดง 30, อุบัติเหตุและการถูกสัตว์ร้ายมีพิษกัดต่อย 109
6.เสียชีวิต 17 (อบ.3, ศก.14)
■ สรุป: - ในพื้นที่ใกล้แม่น้ำหลายพื้นที่มีน้ำท่วม ระดับน้ำเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง “ระดับวิกฤต” กระทบต่อสุขภาพ, การดำรงชีวิต ปชช.
2.มีรายงาน ปชช.อพยพ ไปจุดพักพิงรวม 138 จุดใน 3 จังหวัด (อบ.111, ศก.26, ยส.1)
3.เร่งสื่อสารข้อมูลความเสี่ยงแจ้งเตือนการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มากับน้ำท่วม อย่างต่อเนื่อง,ยึดหลัก 4 E’S ; Early detection, E.diagnosis, E.treatment, E. p&C.
งาน SAT. Flooding response, สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี